เจาะลึกเรื่องเนื้อพระรอด






เนื้อพระรอดนั้นนักขุดพระรอด ได้แยกออกเป็น 3 โซนเนื้อดังนี้
1. โซนเนื้อละเอียด
2. โซนเนื้อละเอียดปนหยาบ
3. โซนเนื้อหยาบ


คราบธรรมชาติในพระรอดแท้
1. เกาะแคลเซี่ยม ( calcium  )หมายความว่าพระรอดที่ฝั่งลึกในดิน ระดับความลึก 5-6 เมตร เนื้องจากแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ทำให้เมืองลำพูน กลายเป็น เมืองใต้พิภพ( City underground) จาการสอบถามข้อมูลจากกรมทรัพย์กรธรณี เพราะเมืองลำพูนนี้ เป็นรอยปริแตกของเปลือกโลกชั้นล่าง จะเกิดแผ่นดินไหว ทุกๆ 500-600 ปี มีผลทำให้พระรอด ที่สร้างยุคแรก อยู่ในดินชั้นล่าง ซึ่งใกล้ระดับตาน้ำ มีการระบายอากาศภายในองค์พระ/เนื้อพระ (oxidation ) ทำให้ผิวพระพรุนไม่เรียบ แคลเซี่ยมที่อยู่ในดินชั้นล่าง จะเกาะตัวเป็นชั้นๆ ถ้าส่องด้วยกลัองจุลทัศน์ จะเห็นชัดเจน ชาวบ้านเรียกว่า ลักษณะนี้ว่าหนังปลากระเบน ในกรณีนี้ ทำให้ทราบว่าพระรอดนั้นที่อายุ ถึง 1,300 ปี ในขบวนการทางวิทยาศาสตร์
ผิวมะกรูดหรือเม็ดผด ในพระรอดแท้จุดชี้วัดฟันธงแท้เก๊จะได้กล่าวในรายละเอียดต่อไปเกิดจากการขยายตัวและหดตัวของมวลสารตามอุณภูมิ และฤดูกาลปรากฏว่าประเทศไทยมี 3 ฤดู จะทำให้มวลสารที่อยู่ในองค์พระเปลี่ยนแปลงโดยดันตัวออกมาจากการ Oxidation  ทำให้ทราบความเก่าของพระเนื้อดินเผา ทางโบราณคดี
 



 ชื่อพระรอด   พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวันพิมพ์เครื่องราชฯ
ประวัติพระ      ค้นพบโดยช่างแก้ว ช่างรับเหมาขุดถนน และตนงาน
อายุการสร้าง 1,300ปี โดยพระนางจามเทวี
โซนเนื้อ         ผงหิน
สถานที่ค้นพบ ถนนข้างวัดมหาวันทางด้านทิศตะวันตก
สภาพพระ สภาพเดิมๆยังไม่ผ่านการใช้ ( original )
ค่านิยม   พอๆกับพระสมเด็จ แต่อายุมากกว่า

 ชื่อพระรอด   พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน( พิมพ์มือซ้อน)ที่พระกร
ประวัติพระ     ค้นพบโดยช่างแก้ว ช่างรับเหมาขุดถนน และตนงาน
อายุการสร้าง 1,300ปี โดยพระนางจามเทวี
สถานที่ค้นพบ ถนนข้างวัดมหาวันทางด้านทิศตะวันตก
สภาพพระ       สภาพเดิมๆยังไม่ผ่านการใช้ ( original )
โซนเนื้อ        ผงหินคราบหินแคลเซี่ยม
วรรณะ           สีสองกษัตริย์ เขียวผ่าน 

 ชื่อพระรอด พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน(พิมพ์หน้าเทวดาแข็งลาย
)ประวัติพระ  ค้นพบโดยช่างแก้ว ช่างรับเหมาขุดถนน และตนงาน
อายุการสร้าง 1,300ปี โดยพระนางจามเทวี
สถานที่ค้นพบ ถนนข้างวัดมหาวันทางด้านทิศตะวันตก
สภาพพระ      สภาพเดิมๆยังไม่ผ่านการใช้ ( original )
โซนเนื้อ       หยาบผสมละเอียด ผงหิน                                                         วรรณะ สีดอก  พิกุลแห้ง

ชื่อพระรอด พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน(พิมพ์ล่ำทรงลังกา)
ประวัติพระ  ค้นพบโดยช่างแก้ว ช่างรับเหมาขุดถนน และตนงาน
อายุการสร้าง 1,300ปี โดยพระนางจามเทวี
สถานที่ค้นพบ ถนนข้างวัดมหาวันทางด้านทิศตะวันตก
สภาพพระ สภาพเดิมๆยังไม่ผ่านการใช้ ( original )
โซนเนื้อละเอียด
วรรณสีดอกพิกุลมาตรฐาน

ชื่อพระรอด พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวันพิมพ์เครื่องราชฯ ที่ 1
ประวัติพระ  ค้นพบโดยช่างแก้ว ช่างรับเหมาขุดถนน และตนงาน
อายุการสร้าง 1,300ปี โดยพระนางจามเทวี
สถานที่ค้นพบ ถนนข้างวัดมหาวันทางด้านทิศตะวันตก
สภาพพระ สภาพเดิมๆยังไม่ผ่านการใช้ ( original )
โซนเนื้อ หยาบหนังปลากระเบน(ตุ่มแคลเซี่ยม)
วรรณะ สีดอกพิกุลมาตรฐาน

ชื่อพระรอด พระรอดพิมพ์เล็กวัดมหาวัน พิมพ์หน้าหล่อ
ประวัติพระ  ค้นพบโดยช่างแก้ว ช่างรับเหมาขุดถนน และตนงาน
อายุการสร้าง 1,300ปี โดยพระนางจามเทวี
สถานที่ค้นพบ ถนนข้างวัดมหาวันทางด้านทิศตะวันตก
สภาพพระ สภาพเดิมๆยังไม่ผ่านการใช้ ( original)
โซนเนื้อ ดินศิลาธิคุณ

ชื่อพระรอด พระรอดพิมพ์ต้อวัดมหาวัน
ประวัติพระ  ค้นพบโดยช่างแก้ว ช่างรับเหมาขุดถนน และตนงาน
อายุการสร้าง 1,300ปี โดยพระนางจามเทวี
สถานที่ค้นพบ ถนนข้างวัดมหาวันทางด้านทิศตะวันตก
สภาพพระ สภาพเดิมๆยังไม่ผ่านการใช้ ( original )
โซนเนื้อ ละเอียดแก่ว่าน
  

พระรอดพิมพ์ใหญ่นิยมพิมพ์จ่าโท ( หน้าปกหนังสือส่วนกลาง)

ประวัติ ที่มา ค้นพบโดยลุงสุก ในขณะเป็นคนงานในตอนสร้างท่อน้ำหลังวัดมหาวัน
โดยช่างโยธา เทศบาลลำพูน เป็นผู้ดำเนินการ ได้พระพิมพ์นี้ จำนวนหลาย สิบองค์ แจกจ่าย กันไป ในวงช่างและคนงาน ความลึกระดับดิชั้นล่าง ประมาณ 5-6 เมตร จากการแคลเซี่ยมเกาะผิวเป็นตุ่มๆ คล้ายหนังคางคก สันนิษฐานเป็นพระรอดยุคแรกๆวรรณะที่ค้นพบมี สีดังนี้
* สีขาว
* สีเขียวใบไผ่
* สีเขียวใบบัวบก
* สีหัวไพรแห้ง
* สีดอกพิกุล
* ระดับความเก้ยังไม่ปรากฏให้เห็น

ด้านหลังพระรอดจะเห็นชัดเจน แคลเซี่ยมเกาะ เป็นจุดๆนูนขึ้นมา


รูปภาพโค๊ทเข้ามาใกล้ให้เห้นชัดเจน
1.สนิมไขวัว
2.คราบแตง
3.คราบกรุ
4.แคลเซี่ยมฝั่งตัว
5.รูพรุน
6.แร่หลุด
7.ว่านหลุด
คราบธรรมชาติต่างที่กล่าวมาเบื้องต้น ไม่ปรากฏในพระรอด เก้.......

มวลสารที่สำคัญในพระรอดแท้
1. แร่ดอกมะขาม
2. โพรงเหล็กไหล
3. แร่เหล็กไหล
4. เหล็กน้ำพี้
5. เหล็กไหลตาแรด
6. เมฆพัสตร์
7. น้ำศักสิทธิ์ (ดอยขม้อจ.ลำพูน)/น้ำอมฤต
8. ดินศักดิ์สิทธิ์ศิลาธิคุณ
9. ว่านร้อยแปด
10. ดินบริสุทธิ์
11. ศาสตราวุธเก่า
12. พระธาตุศักดิ์ศิทธิ์อย่างน้อยมีแก้วเก้า
13. เพชรตาแมว
14. ว่านงู
15. ว่านไพลดำ
16. ว่านนกคุ้ม
17. ผงยาฤาษี
18. ผงมหาราชแดง

สีหรือวรรณะพระรอดแท้ที่ค้นพบในการขุด
1. สีดอกพิกุล
2. สีเขียวหินครก
3. เขียวไพร
4. เขียวใบมะกา
5. เขียวต้นไผ่
6. เขียวใบบัวบก
7. สีอิฐ
8. สีเนื้อฟักทอง
9. สีขาวดอกจำปี
10. สีดอกจำปา
11. สีดอกพิกุลแห้ง
12. สีหัวไหรแห้ง
13. สีดอกบัวหลวง
14. สีแดงกวนอู
15. สีชอลคกอแล๊ต
16. สีดอวัลติน
17. สีดอกฟัก
18. สีเสวาท
19. สีมอย
20. สีเมล็ดพิกุล
21. สีมะกอกดิล
22. สีมะกอกสุก
23. สีชมพู
24. สีผิวช้างเผือก
25. สีช้างดำ
26. สีงาช้าง
27. สีนอแรด
28. สีลุกทับทิม
29. สีมันปุ
30. สีเขียวหยก
31. สีดำสนิมแดง หรือลำพูนดำ


พระรอดพิมพ์ใหญ่วัดมหาวัน เนื้อละเอียดผสมหยาบ
ประวัติ พระ ลุงน้อยหมาขุดได้บริเวณ ใกล้กุฏิเจ้าอาวาส
โบราณวิจารณ์
1. เนื้อพระ ดินเผา
2. มวลสาร เนื้อว่านผสม/พระธาตุขาวขุ่น
3. ครากรุ /คราบเก่า
4. คราบหินแคลเซี่ยมเกาะผิวพระแน่น


เนื้อมาตรฐาน

 
พระรอดพิมพ์ใหญ่ช่างหลวง เครื่องราชฯ
โซนเนื้องผงหินน้ำมัน

 
พระเนื้อจัด ขยายให้เห็นการขยายตัวของเนื้อพระ/รอยย่นตามธรรมชาติลิขิต

แสดงความคิดเห็น

0 ความคิดเห็น